งานบริการการศึกษา คณะสัตวแพทยศาสตร์ มข.

Education service, Faculty of Veterinary Medicine, KKU

หน้าหลัก

QS world U Ranking

ACD-IQA
คู่มือ IQA 2555

เตรียมความพร้อม IQA 2555

องค์ประกอบ/ตัวชี้วัด
รายละเอียดเกณฑ์การประเมิน/เกณฑ์การให้คะแนน

ระบุสิ่งที่ดำเนินการ

หลักฐาน

ผู้รับผิดชอบ

องค์ประกอบที่ 2 การเรียนการสอน
ตัวชี้วัด 2.1 ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร

1. มีระบบและกลไกการเปิดหลักสูตรใหม่
และปรับปรุงหลักสูตรตามแนวทางปฏิบัติที่กำหนดโดย
คณะกรรมการการอุดมศึกษา
และดำเนินการตามระบบที่กำหนด

- คณะเปิดสอนทั้งหมด 11 หลักสูตร ประกอบด้วย
ป.ตรี สพ.บ. 1 หลักสูตร เป็นหลักสูตรปรับปรุง ปี 55 (TQF) และ ปี 52
ป.บัณฑิต 3 หลักสุตร ทุกหลักสูตร เป็นหลักสูตรปรับปรุง ปี 55 (TQF)
ป.โท 5 หลักสูตร ทุกหลักสูตร เป็นหลักสูตรปรับปรุง ปี 55 (TQF)
ป.เอก 2 หลักสูตร ทุกหลักสูตร เป็นหลักสูตรปรับปรุง ปี 55 (TQF)

- การเปิดและปรับปรุงหลักสูตร ดำเนินตามขั้นตอนในการขออนุมัติหลักสูตรและปรับปรุงหลักสูตร
ที่สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา และมหาวิทยาลัยขอนแก่นกำหนด ทุกหลักสูตร

- เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรปริญญาตรี และบัณฑิตศึกษา (2.1.1-1)
- ประกาศ มข. เรื่องการเสนอขออนุมัติหลักสูตร (2.1.1-2)
- ขั้นตอนในการขออนุมัติหลักสูตรและปรับปรุงหลักสูตร (2.1.1-3)
- แนวทางปฎิบัติในการขออนุมัติหลักสูตร มข.(2.1.1-8)
- คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตรทุกหลักสูตร (2.1.1-4)
- คู่มือการดำเนินการพัฒนา/ปรับปรุงหลักสูตรและขออนุมัติหลักสูตร
มหาวิทยาลัยขอนแก่นตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่ง่ชาติ พ.ศ. 2552 (2.1.1-5)

นายจิรศักดิ์ สุทัศนะจินดา

2. มีระบบและกลไกการปิดหลักสูตรตามแนวทางปฏิบัติที่กำหนดโดย
คณะกรรมการการอุดมศึกษา และดำเนินการตามระบบที่กำหนด

- คณะยังไม่มีการปิดหลักสูตรใด

- การปิดหลักสูตรมีกลไกและระบบการปิดหลักสูตรตามแนวปฏิบัติที่กำหนดโดยมหาวิทยาลัยขอนแก่น
ซึ่งได้แจ้งกกวิชาการและ เวียนทุกหลักสูตรเพื่อทราบ

- ประกาศ มข เรื่อง แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการปิดหลักสูตร (2.1.2-1)
- ประกาศ มข เรื่อง แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการเปิด-ปิด รายวิชา (2.1.2-2)
- รายงานประชุมกกวิชาการ เรื่องแจ้งเพื่อทราบ ข้อ 2.4 (2.1.2-3)

นายจิรศักดิ์ สุทัศนะจินดา

3. ทุกหลักสูตรมีการดำเนินงานให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร
ระดับอุดมศึกษาและกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
- แต่งตั้ง อ.ประจำหลักสูตร เพื่อดำเนินการบริหารจัดการทุกหลักสูตร
- มีรายละเอียดหลักสูตรตามแบบมคอ2 ที่ได้มาตรฐาน
- มีรายละเอียดของรายวิชา ครบทุกหลักสูตร ก่อนเปิดสอน (มคอ3&4)
- มีการจัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา (มคอ5&6)

- คำสั่งแต่งตั้ง กก บริหารหลักสูตร (2.1.3-1)
- รายละเอียด มคอ2 ทุกหลักสูตร การรับรอง มคอ 3 4 5 6
(http://vet.kku.ac.th/vetkkued/acd_assurance/2556/tqf/index.html)

นายจิรศักดิ์ สุทัศนะจินดา

4. มีคณะกรรมการรับผิดชอบควบคุมกำกับให้มีการดำเนินการได้ครบถ้วน
ทั้งข้อ 1 ข้อ 2 และข้อ 3 ข้างต้นตลอดเวลาที่จัดการศึกษา
และมีการประเมินหลักสูตรทุกหลักสูตรอย่างน้อยตามกรอบเวลา
ที่กำหนดในเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรฯกรณีหลักสูตร
ที่ดำเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
จะต้องควบคุมกำกับให้การดำเนินงานตามตัวบ่งชี้ในข้อ 3
ผ่านเกณฑ์การประเมิน 5 ข้อแรก
และอย่างน้อยร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ที่กำหนดในแต่ละปี ทุกหลักสูตร
- แต่งตั้ง อ.ประจำหลักสูตร เพื่อดำเนินการบริหารจัดการทุกหลักสูตร
และระบุหน้าที่ความรับผิดชอบเพื่อดำเนินการตามตัวชี้วัดอย่างชัดเจน
- มีการประชุมคณะกรรมการบริหารหลักสูตร
- มีการกำกับติดตามการดำเนินการ โดย คณะกรรมการที่เกี่ยวข้อง

- คำสั่งแต่งตั้ง กก บริหารหลักสูตร (2.1.3-1)
- คำสั่งแต่งตั้งกรรมการวิชาการ (2.1.4-1)
- คำสั่งแต่งตั้งกรรมการบัณฑิตศึกษา (2.1.4-2)
- คำสั่งแต่งตั้งกรรมการบริหารวิชาคลินิก (2.1.4-3)
- คำสั่งแต่งตั้งกรรมการบริหารวิชาสหกิจศึกษา (2.1.4-4)
- คำสั่งแต่งตั้งกรรมการวิชาปัญหาพิเศษ(2.1.4-5)

นายจิรศักดิ์ สุทัศนะจินดา

5. มีคณะกรรมการรับผิดชอบควบคุมกำกับให้มีการดำเนินการได้ครบถ้วน
ทั้งข้อ 1 ข้อ 2 และข้อ 3 ข้างต้นตลอดเวลาที่จัดการศึกษา
และมีการพัฒนาหลักสูตรทุกหลักสูตรตามผลการประเมินในข้อ 4
กรณีหลักสูตรที่ดำเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
จะต้องควบคุมกำกับให้การดำเนินงานตามตัวบ่งชี้ในข้อ 3
ผ่านเกณฑ์การประเมินครบทุกตัวบ่งชี้และทุกหลักสูตร
- แต่งตั้ง อ.ประจำหลักสูตร เพื่อดำเนินการบริหารจัดการทุกหลักสูตร
- มีการกำกับติดตามการดำเนินการ โดย คณะกรรมการที่เกี่ยวข้อง

 

นายจิรศักดิ์ สุทัศนะจินดา

6. หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาที่เน้นการวิจัยที่เปิดสอน
(ปริญญาโท เฉพาะแผน ก และปริญญาเอก) 
มีจำนวนมากกว่าร้อยละ 50 ของจำนวนหลักสูตรทั้งหมดทุกระดับการศึกษา
- หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาทั้ง 10 หลักสูตรเป็นหลักสูตรที่เน้นการวิจัย

- หลักสูตรที่เน้นการวิจัย (2.1.6-1)

น.ส.ชนิดา ชาอินทร์

7. หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาที่เน้นการวิจัยที่เปิดสอน
(ปริญญาโท เฉพาะแผน ก และ ปริญญาเอก) มีจำนวนนักศึกษาที่ศึกษาอยู่ในหลักสูตร
มากกว่าร้อยละ 30 ของจำนวนนักศึกษาทั้งหมดทุกระดับการศึกษา
- ทุกหลักสูตรที่เปิดสอนเป็นหลักสูตรที่เน้นวิจัย

- รายชื่อนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา (2.1.7-1)
- รายชื่อนักศึกษาระดับป.ตรี (2.1.7-2)

น.ส.ชนิดา ชาอินทร์

2.5 ห้องสมุด อุปกรณ์การศึกษา และสภาพแวดล้อมการเรียนรู้

1. มีการจัดการหรือจัดบริการให้นักศึกษามีเครื่องคอมพิวเตอร์ใช้ในอัตรา
ไม่สูงกว่า 8  FTES  ต่อเครื่อง

- มีจำนวนเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อสนับสนุนการเรียนการสอน : นศ เท่ากับ 1 : 6.09

- ในปีการศึกษา 2556
... มีการจัดหาครุภัณฑ์เครื่องคอมพิวเตอร์ เพิ่มเติม จำนวน 10 เครื่อง
... มีการติดตั้งคอมพิวเตอร์และจุดให้บริการ Wifi เพิ่มเติมในห้องสมุด

- จำนวนเครื่องคอมพิวเตอร์ (2.5.1-1) (2.5.1-2)

- ครุภัณฑ์กลางประจำปีงบประมาณ 2556 (2.5.3-13)
- คอมพิวเตอร์และ ระบบ Wifi ห้องสมุด ที่ติดตั้งเพิ่มเติม (2.5.1-3)

 นายเฉลิมพันธุ์

2. มีบริการห้องสมุดและแหล่งเรียนรู้อื่นๆผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
และมีการฝึกอบรมการใช้งานแก่นักศึกษาทุกปีการศึกษา

- คณะฯ มีห้องสมุดที่เปิดให้บริการทั้งในและนอก เวลาราชการ

- คณะมีห้องคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้ ในการอบรม และเป็นแหล่งเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศ

- ในปีการศึกษา 2556
... มีการ อบรมการสืบค้นเอกสารตำรา และการลงทะเบียนผ่านระบบเครือข่าย
ให้แก่นักศึกษาชั้นปีที่ 1 ในงานวันปฐมนิเทศ (28 พ.ค. 2556)
... มีการจัดหา E-book เพิ่มเติม
... มีการใช้ห้องคอมพิวเตอร์ เพื่ออบรม และสอน การใช้โปรแกรมต่างๆ

- เวปไซต์ห้องสมุด http://vet.kku.ac.th/library

- การบริการห้องคอมพิวเตอร์ (2.5.2-1)

- เวปไซต์ E-book http://vet.kku.ac.th/library/book.php
- มีการอบรมการสืบค้นเอกสารตำรา และการลงทะเบียนผ่านระบบเครือข่าย (2.5.2-3) (2.5.2-4)

 นางทักษ์ศภรณ์ ตาละลักษณ์

3. มีบริการด้านกายภาพที่เหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน
และการพัฒนานักศึกษาอย่างน้อยในด้านห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ
อุปกรณ์การศึกษา และจุดเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต

- มีห้องเรียน บรรยาย ปฏิบัติการ คอกสัตว์ทดลอง เหมาะสมและเพียงพอ

- ในปีการศึกษา 2556
... มีการจัดซื้อครุภัณฑ์ และปรับปรุงห้องเรียนปฏิบัติการ
... มีการติดตั้งคอมพิวเตอร์และจุดให้บริการ Wifi เพิ่มเติมในห้องสมุด

- สรุปสถานที่เพื่อการเรียนการสอน (2.5.3)
- ห้องเรียนบรรยาย
ขนาด 150 คน 4ห้อง (2.5.3-1)
ขนาด 100 คน 3 ห้อง (2.5.3-2)
- ห้องเรียนปฏิบัติการ เช่น
ปฏิบัติการสรีรวิทยา (2.5.3-3)
ปฏิบัติการพยาธิวิทยา (2.5.3-4)
- โรงพยาบาลสัตว์ (2.5.3-5)
- สถานีฟาร์มฝึกนักศึกษา (2.5.3-6)
- โรงเรือนสัตว์ทดลอง (2.5.3-7)
- ห้องสมุด (2.5.3-8) (2.5.3-11)
- ห้องคอมพิวเตอร์ (2.5.3-9)
- จุดขยายสัญญาน WiFi (2.5.3-10)


- งบปี 2557 (2.5.3-12)
- งบกลางปี 2557 (2.5.3-13)

- คอมพิวเตอร์และ ระบบ Wifi ห้องสมุด ที่ติดตั้งเพิ่มเติม (2.5.1-3)

นางทักษ์ศภรณ์ ตาละลักษณ์ 

4. มีบริการสิ่งอำนวยความสะดวกที่จำเป็นอื่นๆ
อย่างน้อยในด้านงานทะเบียนนักศึกษา
ผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ การบริการอนามัยและการรักษาพยาบาล
การจัดการหรือจัดบริการด้านอาหารและสนามกีฬา
- มีระบบลงทะเบียนผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์
- มีห้องพยาบาล
- มีโรงอาหาร ร้านกาแฟและอาหารว่าง
- มีลานเอนกประสงค์ และสนามกีฬาส่งเสริมสุขภาพ

- เวปสำนักทะเบียน (2.5.4-1)
- โรงอาหาร (2.5.4-2)
- สนามกีฬา (2.5.4-3)
- ห้องปฐมพยาบาล (2.5.4-4)

 นางทักษ์ศภรณ์ ตาละลักษณ์

5. มีระบบสาธารณูปโภคและรักษาความปลอดภัยของอาคาร
ตลอดจนบริเวณโดยรอบ อย่างน้อยในเรื่องประปา ไฟฟ้า
ระบบกำจัดของเสีย การจัดการขยะ รวมทั้งมีระบบและ
อุปกรณ์ป้องกันอัคคีภัยในบริเวณอาคารต่าง ๆ
โดยเป็นไปตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
ระบบสาธารณูปโภค
- มีการดูแล บำรุงรักษาระบบ ประปา และ แสงสว่าง
- มีระบบกำจัดขยะมูลฝอย
- มีจุดบริการน้ำดื่ม ระบบรักษาความปลอดภัย
-- มีมาตรการรักษาความปลอดภัย การดูแลลิฟต์
การจ้างยามรักษาความปลอดภัย และการซ้อมป้องกันอัคคีภัย เป็นต้น

- สัญญาการจ้างดูแลลิฟต์ (2.5.5-1)
- สัญญาการจ้างยามรักษาความปลอดภัย (2.5.5-2)
- โครงการซ้อมป้องกันอัคคีภัย (2.5.5-3)

นางทักษ์ศภรณ์ ตาละลักษณ์ 

6. มีผลการประเมินคุณภาพของบริการในข้อ 2 – 5 ทุกข้อ
ไม่ต่ำกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5
- จากการเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม นศ. จำนวน 137 เมื่อเดือน พ.ย. 2556
ผลการประเมินความพึงพอใจอยู่ในระดับดี (> 3.51) ทุกข้อ
- ผลประเมิน (2.5.6-1)

นางทักษ์ศภรณ์ ตาละลักษณ์ 

7. มีการนำผลการประเมินคุณภาพในข้อ 6 มาใช้
เป็นข้อมูลในการพัฒนาการจัดบริการด้านกายภาพ
ที่สนองความต้องการของผู้รับบริการ

- จากผลการประเมินในข้อ 6 หัวข้อที่มีคะแนนต่ำกว่า 4 ได้แก่

จุุดเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตไร้สาย และอุปกรณ์การศึกษา ซึ่งมีคะแนนประเมิน 3.71
ซึ่งเป็น หัวข้อที่มีคะแนนในการประเมินในปีการศึกษา 2555 ต่ำด้วย (3.53-3.57)
โดยเฉพาะจุด Wifi ในห้องสมุด อุปกรณ์ในการทำวิจัย และห้องเรียนปฏิบัติการต่างๆ เช่น ห้องปฏิบัติการ
สรีรวิทยา เป็นต้น เป็นประเด็นที่ได้รับคำร้องขอจากนักศึกษา
ในงานวันผู้บริหารพบนักศึกษา อย่างมาก

คณะมีการอนุมัติงบใช้สอยเร่งด่วน งบปี 2557 และ งบกลางปี  2557
เพื่อปรับปรุงคุณภาพการให้บริการ และการเรียนการสอนด้านต่างๆ ได้แก่

- ครุภัณฑ์การวิจัยและการเรียนการสอน
- ปรับปรุงห้องเรียนปฏิบัติการและคอกสัตว์ทดลอง
- เพิ่มจำนวนคอมพิวเตอร์
- เพิ่มจุดให้บริการ Wifi ในห้องสมุด

- ปรับปรุงภูมิทัศน์

- งบปี 2557 (2.5.3-12)
- งบกลางปี 2557 (2.5.3-13)
- คอมพิวเตอร์และ ระบบ Wifi ห้องสมุด ที่ติดตั้งเพิ่มเติม (2.5.1-3)

นางทักษ์ศภรณ์ ตาละลักษณ์ 

2.6 ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน

1. มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการจัดการเรียนการสอน
ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญทุกหลักสูตร

- มีคณะกรรมการเพื่อกำกับดูแลให้มีการจัดการเรียนการสอน
ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญทุกหลักสูตร ได้แก่

ป.ตรี สพบ เน้นการจัดการเรียนการสอนแบบปฏิบัติ (คลินิกปฏิบัติ) การจัดการสอนในสถานประกอบการจริง (สหกิจศึกษา) รวมทั้งการจัดการเรียนการสอนแบบกลุ่มและคิดวิเคราะห์ (การสอนโดยใช้ภาษาอังกฤษ RBL PBL) รวมทั้งการส่งเสริมให้มีการประเมินผลการสอนแบบประยุกต์ใช้่ (ออกข้อสอบตามเกณฑ์สัตวแพทยสภา) เป็นต้น

ระดับบัณฑิตศึกษา เป็นการจัดการเรียนการสอนแบบทำงานวิจัยเป็นหลักทุกหลักสูตร

- ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญในทุกหลักสูตร (2.6.1) คณะกรรมการวิชาการ (หลักฐานวาระการประชุม (2.6.1-1) กรรมการจัดการเรียนการสอนแบบ RBL (2.6.1-2)
กรรมการบริหารโครงการสหกิจศึกษา (2.1.4-4)
กรรมการรายวิชาคลินิกปฏิบัติ (2.1.4-3) กรรมการเตรียมความพร้อมในการสอบใบประกอบวิชาชีพ (2.6.1-3) คณะกรรมการบัณฑิตศึกษา (หลักฐานวาระการประชุม (2.6.1-4)
มติกกคณะเรื่อง พิจารณาการจัดการเรียนการสอนเป็นภาษาอังกฤษ แบบแยกกลุ่ม ข้อ 4.9 (2.6.1-5)
มตกกคณะ เรื่อง การจัดการสอน และการประเมินการสอนที่เน้น การประยุกต์ใช้ ข้อ 3.13 (2.6.1-6)
มติกกคณะ เรื่อง การปรับสัดส่วนข้อสอบแบบปรนัย (2.6.1-7)
มติกกคณะ เรื่อง การส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนแบบ RBL (2.6.1-11)
- รายวิชาที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ป.ตรี (2.6.1-8)
- รายวิชาที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญบัณฑิตศึกษา (2.6.1-9)
- ต.ย. รายวิชาที่สอนแบบ SCL
case-base learning_Eng (2.6.1-10.1)
problem-oriented approach (2.6.1-10.2)
research base learning (2.6.1-10.3)
active learning&practice (2.6.1-10.4)
cooperative learning (2.6.1-10.5)

รองวิชาการ
2. ทุกรายวิชาของทุกหลักสูตร มีรายละเอียดของรายวิชา
และของประสบการณ์ภาคสนาม(ถ้ามี) ก่อนการเปิดสอน
ในแต่ละภาคการศึกษา ตามที่กำหนดในกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

- มีการจัดทำรายละเอียดรายวิชา ทุกหลักสูตร ก่อนดำเนินการสอนทุกหลักสูตร
ดังนี้
สพ.บ. จำนวน 102 รายวิชา (มคอ 4 = 1 วิชา)
ป.บัณฑิต ทางสัตวแพทย์คลินิก สาขาสัตว์เลี้ยง จำนวน 15 วิชา
ป.บัณฑิต สาขาวิชาโรคและการจัดการสุขภาพในปศุสัตว จำนวน 13 วิชา
ป.บัณฑิต สาขาวิชาโรคและการจัดการสุขภาพในปศุสัตว นานาชาติ จำนวน 13 วิชา
ป.โท สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การสัตวแพทย์ จำนวน 19 วิชา
ป.โท สาขาวิชาวิทยาการสืบพันธุ์สัตว์ จำนวน 18 วิชา
ป.โท สาขาวิชาสัตวแพทย์สาธารณสุข จำนวน 17 วิชา
ป.โท สาขาวิชาสหวิทยาการสัตวแพทย์ จำนวน 39 วิชา
ป.โท สาขาวิชาสหวิทยาการสัตวแพทย์ นานาชาติ จำนวน 39 วิชา
ป.เอก สาขาวิชาสหวิทยาการสัตวแพทย์ จำนวน 40 วิชา
ป.เอก สาขาวิชาสหวิทยาการสัตวแพทย์ นานาชาติ จำนวน 40 วิชา

- มคอ. 3&4 ของหลักสูตรต่างๆ
(http://vet.kku.ac.th/vetkkued/acd_assurance/2556/tqf/index.html)

 นายจิรศักดิ์ สุทัศนะจินดา

3. ทุกหลักสูตรมีรายวิชาที่ส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง
และการให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการปฏิบัติทั้งในและ
นอกห้องเรียนหรือจากการทำวิจัย

- หลักสูตร ป.ตรี สพ.บ. มีรายวิชา สัมมนา ปัญหาพิเศษ สหกิจศึกษา และวิชาคลินิกปฏิบัติเป็นอย่างน้อย ที่ส่งเสริมให้นักศึกษาได้เรียนรู้ด้วยตนเอง
รวมทั้งมีการส่งเสริมให้นักศึกษาฝึกงานนอกหลักสูตร

- หลักสูตร ระดับบัณฑิตศึกษา
ป.บัณฑิต ทั้ง 3 หลักสูตร เป็นหลักสูตรที่เน้นการปฏิบัติในโรงพยาบาลสัตว์และฟาร์ม
ป.โทและป.เอก ทุกหลักสูตรเป็นหลักสูตรที่เน้นการทำวิจัยเป็นหลัก


- วิชาสัมนาทางสัตวแพทย์ (2.6.3-1)
- วิชาปัญหาพิเศษ (2.6.3-2)
- สหกิจศึกษา (2.6.3-3) (2.6.3-4)
- สรุปโครงการสหกิจศึกษา ปีการศึกษา 2556 (2.6.3-10)
- หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาที่เน้นการวิจัย (2.1.6-1)

- รายชื่อนักศึกษา ฝึกงานนอกหลักสูตร (2.1.6-5)

 นางรัคณภรณ์ ใจไวย์ธนา

4. มีการให้ผู้มีประสบการณ์ทางวิชาการหรือวิชาชีพจากหน่วยงาน
หรือชุมชนภายนอกเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนการสอนทุกหลักสูตร

- หลักสูตร ป.ตรี สพ.บ. มีการเชิญวิทยากร/อาจารย์พิเศษให้ความรู้และประสบการณ ์

- หลักสูตร ป.บัณฑิต ทั้ง 3 หลักสูตร เชิญสัตวแพทย์ประจำโรงพยาบาล และ/หรือ ฟาร์ม ร่วมสอน
- หลักสูตร ป.โท และ ป.เอก มีการเชิญผู้เชี่ยวชาญจากภายนอกเป็นที่ปรึกษาและอาจารย์สอน

- สรุปอาจารย์พิเศษ&ฝึกงาน (2.6.4-1)
- หนังสือเชิญอาจารย์&วิทยากร (2.6.4-2)
- คำสั่งแต่งตั้งที่ปรึกษา&กรรมการสอบ ระดับบัณฑิต (2.6.4-3) (2.6.4-4)

 น.ส.ชาริณี กูฏโสม

5. มีการจัดการเรียนรู้ที่พัฒนาจากการวิจัย
หรือกระบวนการจัดการความรู้เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน

มีการดำเนินการวิจัยชั้นเรียน เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน ในปีการศึกษา 2556 คือ

- โครงการการจัดการเรียนการสอนแบบ Flipped class โดยใช้สื่อวิดิทัศน์ เป็นการวิจัยชั้นเรียน วิชาจุลกายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาทางสัตวแพทย์ 1 สําหรับนักศึกษาสัตวแพทยศาสตร์ชั้นปีที่ 2 ในภาคปลายปีการศึกษา 2556 เพื่อใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอน วิชานี้เองและวิชาที่สอนโดยการใช้ภาษาอังกฤษวิชาอื่นๆ


- การวิเคราะห์ข้อสอบ คณะสัตวแพทยศาสตร์ มข. ปีการศึกษา 2555 เป็นการศึกษาวิเคราะห์ข้อสอบปีที่ผ่านมา เพื่อใช้ในการปรับปรุงแนวทางในปรับปรุงการออกข้อสอบปรนัยตามเกณฑ์สัตวแพทยสภา ทุกรายวิชาของคณะ

- ความฉลาดทางอารมณ์ของนักศึกษาคณะสัตวแพทยศาสตร์ เพื่อศึกษาความฉลาดทางอารมณ์ของนักศึกษาสัตวแพทยทุกชั้นปี

- ปัจจัยที่มีผลต่อการสำเร็จการศึกษาของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา เพื่อปรับปรุงการเรียนการสอนรายวิชาวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาทั้ง ป.โท และ ป.เอก

- Flipped class ภาควิชาสรีรวิทยา (2.6.5-1)
- การวิเคราะห์ข้อสอบ งานบริการ (2.6.5-2)
- ความฉลาดทางอารมณ์ ภาคพยาธิ (2.6.5-3)
- ปัจจัยที่มีผลต่อการสำเร็จของบัณฑิตศึกษา งานบริการ (2.6.5-4)

  น.ส.ชาริณี กูฏโสม

6. มีการประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อคุณภาพการจัดการเรียนการสอน
และสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ทุกรายวิชา ทุกภาคการศึกษา
โดยผลการประเมินความพึงพอใจแต่ละรายวิชาต้องไม่ต่ำกว่า 3.51
จากคะแนนเต็ม 5

- มีการดำเนินการให้นักศึกษาทุกชั้นปีเข้าประเมินความพึงพอใจ
ต่อการเรียนการสอนทุกรายวิชา ผ่านเวปไซต์ของมหาวิทยาลัย
- มีการแจ้งผลประเมินการสอนให้อาจารย์ทราบเพื่อการปรับปรุงการเรียนการสอน ทุกรายวิชา

- พบว่าทุกรายวิชาที่เปิดสอน ในปีการศึกษา 2556 มีผลประเมินไม่ต่ำกว่า 3.51

- ผลประเมินการเรียนการสอน ปีการศึกษา 2556
ภาคต้น (2.6.6-1) ภาคปลาย (2.6.6-2)
- การแจ้งผลการประเมินการสอน (2.6.6-3)

  นางรัคณภรณ์ ใจไวย์ธนา

7. มีการพัฒนาหรือปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน
หรือการประเมินผลการเรียนรู้ทุกรายวิชาตามผลการประเมินรายวิชา

จากการประเมินผลการสอบใบประกอบวิชาชีพฯ ของนักศึกษา ได้มีมาตรฐานการในการปรับปรุงการเรียนการสอน ดังนี้

- การปรับสัดส่วนข้อสอบ MCQ รายวิชาต่างๆของคณะ
- การทบทวนให้มีการจัดการเรียนการสอนครอบคลุมเนื้อหาตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพฯทุกรายวิชา
- การทบทวนให้มีการจัดการจัดการเรียนการสอนครอบคลุม One Health Domain

- มติกกคณะ เรื่อง การปรับสัดส่วนข้อสอบแบบปรนัย (2.6.1-7)

- Mapping รายวิชาตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพฯ (2.6.7-3)
- Mapping รายวิชาตาม One Health Domain (2.6.7-4)

  น.ส.ชาริณี กูฏโสม

2.7 ระบบและกลไกการพัฒนาสัมฤทธิผลการเรียนตามคุณลักษณะของบัณฑิต

1. มีการสำรวจคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ตามความต้องการของ
ผู้ใช้บัณฑิต  อย่างน้อยสำหรับทุกหลักสูตรระดับปริญญาตรี    
ทุกรอบระยะเวลาตามแผนกำหนดการศึกษาของหลักสูตร

- คณะได้ดำเนินการสำรวจความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต ตามคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ จาก
แบบสอบถาม จำนวน 23 ชุด แบ่งเป็น โรงพยาบาลสัตว์ 14 แห่ง คลินิก 2 แห่ง บริษัท 6 แห่ง และอืนๆ 1 แห่ง
ได้ผลประเมิน อยู่ในเกณฑ์ ดี - ดีมาก (3.82 - 5.00)

- คณะได้มีการประชุมที่ปรึกษาซึ่งเป็นตัวแทนขององค์กรที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพ ทุกปี

- การประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้มหาบัณฑิต จัดทำโดย มหาวิทยาลัยขอนแก่น

- คุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของคณะ (2.7.1-10)

- รายงานผลสำรวจความพึงพอใจผู้ใช้บัณฑิต สพ.บ. (2.7.1-1)

- รายงานการประชุมที่ปรึกษาคณะฯ (2.7.1-3)


- รายงานความพึงพอใจของผู้ใช้มหาบัณฑิต (2.7.1-2)

 

2. มีการนำผลจากข้อ 1 มาใช้ในการปรับปรุงหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน
การวัดผลการศึกษา  และสัมฤทธิผลทางการเรียนที่ส่งเสริมทักษะอาชีพ
และคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์   ตามความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต

จากการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต โดยเฉพาะที่ปรึกษาคณะฯ ประจำปีการศึกษา 2556 มีประเด็นสำคัญ ได้แก่

1. ผลิตบัณฑิตของคณะให้พร้อมเป็นผู้ประกอบการใหม่
2. ควรเสริมความรู้ในแนวราบให้แก่นักศึกษา จะช่วยให้นักศึกษามีความสามารถด้านการคิด
3. นักศึกษาควรเพิ่มการฝึกปฏิบัติมากขึ้น จะได้ช่วยเชื่อมโยงเนื้อหาของแต่ละรายวิชา
4. หาวิธีกระตุ้นให้นักศึกษามีความต้องการเรียนรู้มากขึ้น บรรยายให้น้อยลงและฝึกปฏิบัติให้มากขึ้น
5. นักศึกษาควรมีทักษะด้านภาษาต่างประเทศมากขึ้น
6. นักศึกษาควรเรียนแบบกลุ่ม เพื่อฝึกหัดแก้ปัญหาวิชาทางคลินิก

เพื่อปรับปรุงตามข้อเสนอแนะดังกล่าว คณะมีการดำเนินการในปีการศึกษา 2556 ดังนี้

- มีการนำข้อเสนอแนะไปปรับปรุงหลักสูตร สพ.บ. (หลักสูตรปรับปรุง 2558) เช่น การเพิ่มรายวิชาคลินิก เพิ่มวิชาบูรณาการ เช่น การปฏิบัติด้าน One health
- มีการส่งเสริมการจัดการเรียนการสอน และการประเมินการสอนที่เน้นการประยุกต์ใช้ สอนโดยการใช้ภาษาอังกฤษ และ แบบ RBL
- มีการส่งเสริมให้นักศึกษาเสนอรายงาน และจัดประชุมวิชาการภาษาอังกฤษ
- ทบทวนการจัดการเรียนการสอนให้ครอบคลุมเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพ
- ทบทวนการจัดการเรียนการสอนให้ครอบคลุม One health Domain
- ปรับการประเมินการสอนให้เป็นแบบประยุกต์ใช้มากขึ้น ได้แก่ การปรับสัดส่วนข้อสอบ MCQ รายวิชาต่างๆของคณะ
- การเตรียมนักศึกษาเพื่อสอบใบประกอบวิชาชีพฯ

- หลักสูตรปรับปรุง 2558 (2.7.2-1)
- Mapping รายวิชาตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพฯ (2.6.7-3)
- Mapping รายวิชาตาม One Health Domain (2.6.7-4)
- มติกกคณะ เรื่อง การปรับสัดส่วนข้อสอบแบบปรนัย (2.6.1-7)
- มติกกคณะเรื่อง พิจารณาการจัดการเรียนการสอนเป็นภาษาอังกฤษ แบบแยกกลุ่ม ข้อ 4.9 (2.6.1-5)
- มตกกคณะ เรื่อง การจัดการสอน และการประเมินการสอนที่เน้น การประยุกต์ใช้ ข้อ 3.13 (2.6.1-6)
- มติกกคณะ เรื่อง การส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนแบบ RBL (2.6.1-11)
- การนำเสนอผลงานทางวิชาการเป็นภาษาอังกฤษ ป.ตรี (2.7.4-1)
- สรุปกิจกรรมในการเตรียมนักศึกษาสอบใบประกอบวิชาชีพฯ (2.7.2-3)


 นางทักษ์ศภรณ์ ตาละลักษณ์ 

3. มีการส่งเสริมสนับสนุนทรัพยากรทั้งด้านบุคลากร เทคโนโลยีสารสนเทศ
และงบประมาณที่เอื้อต่อการพัฒนาคุณลักษณะของบัณฑิต
- มีการอนุมัติงบประมาณทั้งงบประจำปี และงบเร่งด่วนกลางปี
เพื่อสนับสนุนการพัฒนาคุณลักษณะของบัณฑิต
- มีกองทุนเพื่อการพัฒนาบัณฑิต

- งบปี 2557 (2.5.3-12)
- งบกลางปี 2557 (2.5.3-13)

- ประกาศทุนส่งเสริมการพัฒนาบัณฑิต (2.7.3-1)
- นักศึกษา่ได้รับการจัดสรรทุนการศึกษา ปีการศึกษา 2556 (2.7.3-2)

 นางทักษ์ศภรณ์ ตาละลักษณ์ 

4. มีระบบและกลไกการส่งเสริมให้นักศึกษาระดับปริญญาตรี
และบัณฑิตศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมการประชุมวิชาการ
หรือนำเสนอผลงานทางวิชาการในที่ประชุมระหว่างสถาบัน
หรือที่ประชุมระดับชาติหรือนานาชาติ

คณะมีการส่งเสริมให้นักศึกษาเข้าร่วมประชุมวิชาการ/เสนอผลงาน โดย

- ป.ตรี สพ.บ.
... ให้ทุนทำวิจัยและเสนอผลงานสำหรับรายวิชาปัญหาพิเศษ
... ให้นักศึกษาชั้นปีที่ 5 เข้าร่วมงานประชุมวิชาการนานาชาติของคณะ (KVAC 2014) ใน วิชาสัมนา ปัญหาพิเศษ
... จัดกิจกรรมแข่งขันความสามารถทางด้านภาษาอังกฤษในการนําเสนอผลงานวิชาการ ให้นักศึกษาสัตวแพทย์

- ระดับบัณฑิตศึกษา
... ให้ทุนเพื่อการวิจัยและเสนอผลงาน นักศึกษา ทั้ง ป.บัณฑิต ป.โท และ ป.เอก
... ให้นักศึกษาสามารถเข้าร่วมประชุมวิชาการนานาชาติของคณะ (KVAC 2014)
... จัดให้มีการนำเสนอรายงานความก้าวหน้าการทำวิทยานิพนธ์

- ประกาศทุนส่งเสริมการพัฒนาบัณฑิต (2.7.3-1)
หัวข้อ 5.3 สำหรับนักศึกษา ป.บันฑิต ป.โท และ ป.เอก
หัวข้อ 5.7 สำหรับวิชาปัญหาพิเศษ

- ให้นศร่วมประชุมวิชาการนานาชาติของคณะ (KVAC2014) โดยยกเว้นค่าลงทะเบียน
นศ ชั้นปีที่ 5 (2.7.4-3)
นศระดับบัณฑิตศึกษา (2.7.4-4)
รายงาน KVAC 2014 (2.7.4-5)

- การนำเสนอผลงานวิชาปัญหาพิเศษ (2.6.3-2)
- การนำเสนอผลงานทางวิชาการเป็นภาษาอังกฤษ ป.ตรี (2.7.4-1)
- การเข้าร่วมเสนอผลงานวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา (2.7.4-2)

 นางทักษ์ศภรณ์ ตาละลักษณ์ 

5. มีกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมให้แก่นักศึกษาระดับปริญญาตรี
และบัณฑิตศึกษาที่จัดโดยสถาบัน

คณะมีการจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม ด้านต่างๆ ได้แก่

ระดับ ป.ตรี

เรียนรู้พระศาสนาร่วมรักษาป่าอีสาน

งานวันไหว้ครู 2556

ลอยกระทง

ระดับบัณฑิตศึกษา
- ส่่งเสริมให้นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมงานวันไหว้ครู

ระดับ ป.ตรี
- รายงานสรุปโครงการและกิจกรรมของนักศึกษา ปีการศึกษา 2556

ระดับบัณฑิตศึกษา
- วันไ
หว้ครู (2.7.5-3)

 

 นางทักษ์ศภรณ์ ตาละลักษณ์ 

6. มีการพัฒนาทักษะนักศึกษาในการจัดทำบทความจากวิทยานิพนธ์
และมีการนำไปตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารระดับนานาชาติ

- มีการประชาสัมพันธุ์ ให้นักศึกษาเข้าร่วมการอบรมต่างๆ เช่น การอบรมพัฒนาศักยภาพทางวิชาการของอาจารย์ และนักศึกษา ที่จัดโดยบัณฑิตวิทยาลัย
- มีการจัดให้มีวิทยากรที่มีความเชียวชาญเฉพาะด้านมาอบรมการทำวิทยานิพนธ์ และการเขียนผลงานวิชาการ ในงานวันปฐมนิเทศ นักศึกษาใหม่ประจำปี

- มีการจัดทำบทความจากวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาป.เอก (Nguyen Hoai Nam) และตีพิมพ์ในระดับนานาชาติ

- Facebook การประชาสัมพันธ์ (2.7.6-2)
- โครงการปฐมนิเทศ นักศึกษาใหม่ ปี 2556 (2.7.6-3)

- บทความตีพิมพ์ระดับวารสารนานาชาติ ของนักศึกษา ป.เอก (Nguyen Hoai Nam) (2.7.6-1)

 น.ส.ชนิดา ชาอินทร์

2.8 ระดับความสำเร็จของการเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมที่จัดให้กับนักศึกษา

1. มีการกำหนดพฤติกรรมด้านคุณธรรมจริยธรรมสำหรับนักศึกษา
ที่ต้องการส่งเสริมไว้เป็นลายลักษณ์อักษร

คณะฯ ได้พิจารณาการเรียนรู้และมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานการเรียนรู้แบบ TQF ด้านคุณธรรม จริยธรรม (Ethics and Moral) ด้านความรับผิดชอบทั้งในส่วนตนและส่วนรวม การพัฒนานิสัยและการปฏิบัติตนตามหลักศีลธรรม ซึ่งตรงกับคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานสัตวแพทยสภา และตรงกับความต้องการของ มข.  และคณะฯ จึงจัดทำกำหนดคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์เป็นลายลักษณ์อักษรและประชาสัมพันธ์ให้นักศึกษา และบุคลากรในสังกัดคณะฯ ทราบ  เป็นเป็นแนวทางในการพัฒนานักศึกษาให้มีคุณลักษณะตามความประสงค์ได้  

2.8 (1.1) ลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์

2.8 (1.2) ระเบียบการแต่งกาย

 นางทักษ์ศภรณ์ ตาละลักษณ์ 

2. มีการถ่ายทอดหรือเผยแพร่พฤติกรรมด้านคุณธรรมจริยธรรมสำหรับนักศึกษา
ที่ต้องการส่งเสริมตามข้อ 1  ไปยังผู้บริหาร คณาจารย์ นักศึกษา
และผู้เกี่ยวข้องทราบอย่างทั่วถึงทั้งสถาบัน

คณะฯ ได้ทำกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อถ่ายทอดและเผยแพร่พฤติกรรม คุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ ของนักศึกษา ตามข้อ 1 ผ่านหลายช่องทาง เช่น
1. ประชาสัมพันธ์ขึ้นบนเว็บไซต์คณะฯ
2. ติดประกาศบอร์ดในชั้นเรียนทุกชั้นเรียน
3. ประชาสัมพันธ์ผ่านสิ่งพิมพ์บนปกหลังเอกสารประกอบการเรียน

4. ถ่ายทอดข้อมูลผ่านกิจกรรมผู้บริหารพบนักศึกษา

 2.8 (2.1) เอกสารคำสอน
2.8 (2.2) เว็บไซต์
2.8 (2.3) คู่มือนักศึกษา

 นางทักษ์ศภรณ์ ตาละลักษณ์ 

3. มีโครงการหรือกิจกรรมส่งเสริมการพัฒนาพฤติกรรมด้านคุณธรรมจริยธรรม
ที่กำหนดในข้อ 1 โดยระบุตัวบ่งชี้และเป้าหมายวัดความสำเร็จ

คณะฯ ได้มอบหมายให้ฝ่ายกิจการนักศึกษา และคณะกรรมการส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมและบำเพ็ญประโยชน์เพื่อสังคม จัดกิจกรรม/โครงการพัฒนานักศึกษาให้สอดคล้องกับคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ กิจกรรม/โครงการที่ดำเนินการส่งเสริมพัฒนาด้านคุณธรรม จริยธรรม มีดังนี้
1. โครงการเรียนรู้พระศาสนา ร่วมรักษาป่าอีสาน ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้ธรรมะในพุทธศาสนา ขัดเกลาจิตใจให้มีทัศนคติที่ดี ตระหนักถึงความสำคัญของธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม นักศึกษามีระดับความถึงพอใจในภาพรวมเท่ากับ 4.13
2. โครงการวันไหว้ครู ซึมซับและเกิดแนวคิดในการสืบสานศิลปวัฒนธรรมประเพณีอันดีงามของชาติให้ดำรงไว้  นักศึกษาได้
แสดงความสำนึกในพระคุณของอาจารย์ และขอขมาต่อสิ่งที่อาจกระทำละเมิดต่อครู อาจารย์ ระดับความพึงพอใจในภาพรวมของการจัดโครงการ เท่ากับ 4.19     

3. โครงการทำบุญสัตว์ทดลอง มีวัตถุประสงค์ให้นักศึกษาได้ตระหนักถึงบุญคุณของสัตว์ที่เปรียบเสมือนครูใหญ่ของนักศึกษาสัตวแพทย์ ซึ่งไม่แตกต่างจากแพทย์ที่ให้ความเคารพนับถือครูใหญ่ที่บริจาคร่างกายให้ศึกษา นักศึกษามีระดับความพึงพอใจต่อการจัดโครงการในระดับ  4.40

2.8 (3.1) โครงการเรียนรู้พระศาสนา รู้รักษาป่าอีสาน


2.8 (3.2) โครงการวันไหว้ครู


2.8 (3.3) โครงการการบริจาคโลหิต


2.8 (3.4) โครงการทำบุญสัตว์ทดลอง

 

 นางทักษ์ศภรณ์ ตาละลักษณ์ 

4. มีการประเมินผลโครงการหรือกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมของนักศึกษา
ตามตัวบ่งชี้และเป้าหมายที่กำหนดในข้อ 3 โดยมีผลการประเมินบรรลุเป้าหมาย
อย่างน้อยร้อยละ 90 ของตัวบ่งชี้

ในการจัดโครงการต่าง ๆ ได้มีการประเมินผลความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ ซึ่งนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจอยู่ในระดับดี ทั้ง 3 โครงการ ความละเอียดตามข้อ 2.8 ข้อ 3

2.8 (3.1) โครงการเรียนรู้พระศาสนา รู้รักษาป่าอีสาน


2.8 (3.2) โครงการวันไหว้ครู


2.8 (3.3) โครงการการบริจาคโลหิต


2.8 (3.4) โครงการทำบุญสัตว์ทดลอง

 นางทักษ์ศภรณ์ ตาละลักษณ์ 

5. มีนักศึกษาหรือกิจกรรมที่เกี่ยวกับนักศึกษาได้รับการยกย่องชมเชย
ประกาศเกียรติคุณด้านคุณธรรมจริยธรรม  โดยหน่วยงานหรือองค์กรระดับชาติ
(เป็นหน่วยงานที่ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องใดๆ กับมหาวิทยาลัยขอนแก่น)
นางสาวสุภาพิชญ์ คันธาวัฒน์ จะได้รับทุน การศึกษาตลอดปีการศึกษา 2556 และจะได้รับการบรรจุเข้ารับราชการที่กรมปศุสัตว์เมื่อสำเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2557 แล้ว นอกจากนั้น หากเป็นผู้ประพฤติปฏิบัติตัวเป็นแบบอย่างที่ดี มีผลการปฏิบัติงานดีเยี่ยมในปีแรกที่เข้ารับราชการในกรมปศุสัตว์ นักศึกษาจะได้รับทุนให้ศึกษาต่อ ณ ต่างประเทศตามความสนใจของนักศึกษาในระดับปริญญาโท-เอก โดยทุนของสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน

- รายละเอียดการคัดเลือก และได้รับทุน (2.8.5-1)

 นางทักษ์ศภรณ์ ตาละลักษณ์ 

2.9 บัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี

ร้อยละของบัณฑิต สพ.บ. รุ่นที่ 21 (จบปีการศึกษา 2555)
ได้งานทำภายใน 1 ปี (สำรวจเมื่อ เม.ย. 2557) เท่ากับ 93.3 %

- รายงานการศึกษา (2.9-1)

 นายจิรศักดิ์ สุทัศนะจินดา

2.10 คุณภาพของบัณฑิตปริญญาตรี โท และเอก ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒ
ิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

- คณะได้ดำเนินการสำรวจความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต ตามคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ และ ผลการเรียนรู้ของหลักสูตร

 

- รายงานผลสำรวจความพึงพอใจผู้ใช้บัณฑิต สพ.บ. (2.7.1-1)

-ความพึงพอใจ ป.บัณฑิต&โท (2.10-2)

 น.ส.ชนิดา ชาอินทร์

2.11 ผลงานของผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่

ผลงานผู้สำเร็จการศึกษา ที่ตีพิมพ์ ช่วง 1 มิย. 2556 - 31 พค. 2557
หาร จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาปีการศึกษา 2556

2.11-1

  น.ส.ชนิดา ชาอินทร์

2.12 ผลงานของผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกที่ได้รับการตีพิมพ์

ยังไม่มีผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก

 

 น.ส.ชนิดา ชาอินทร์  

2.13 ร้อยละของนักศึกษานานาชาติระดับปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษา
ต่อจำนวนนักศึกษาทั้งหมด

 

(2.13-1)

 น.ส.ชนิดา ชาอินทร์  

องค์ประกอบที่ 3 กิจกรรมพัฒนานักศึกษา
3.1 ระบบและกลไกการให้คำปรึกษาและบริการด้านข้อมูลข่าวสาร

1. มีการจัดบริการให้คำปรึกษาทางวิชาการและแนะแนวการใช้ชีวิตแก่นักศึกษา

คณะฯ มีกระบวนการให้คำปรึกษาแก่นักศึกษาหลายรูปแบบ ดังนี้

  1. อาจารย์ที่ปรึกษา  : ให้คำแนะนำปรึกษาทางวิชาการ และแนะแนวทางการดำเนินชีวิต นักศึกษามีความพึงพอใจในภาพรวมในระดับ  4.23
  2. คณะกรรมการกิจการนักศึกษา : ให้คำแนะนำปรึกษา และช่วยเหลือนักศึกษาด้านการพัฒนาศักยภาพของนักศึกษาผ่านกระบวนการกิจกรรม/โครงการต่าง ๆ
  3. คณะกรรมการบริหารจัดการการเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ : จะให้คำแนะนำปรึกษาด้านกิจกรรมนักศึกษาร่วมกับคณะกรรมการกิจการนักศึกษา

      ผลการประเมินด้านการให้บริการให้คำปรึกษาในภาพรวมอยู่ในระดับดี  เท่ากับ  4.23

3.1 (1.1) คำสั่งแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษา 2556 (3.1.1-1)
3.1 (1.2) คำสั่งแต่งตั้งกรรมการกิจการ นศ 2554 (3.1.1-2)
3.1 (1.3) คำสั่งแต่งตั้งกก.จัดการกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ (3.1.1-3)

3.1 (1.4) ผลการประเมินโครงการอาจารย์ที่ปรึกษาพบนักศึกษา

  นางทักษ์ศภรณ์ ตาละลักษณ์ 

2. มีการจัดบริการข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ต่อนักศึกษา

คณะฯ ได้จัดให้มีบริการด้านการให้ข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ต่อนักศึกษาในหลายช่องทาง เช่น
1. ติดบอร์ดประกาศ
2. ประชาสัมพันธ์ผ่านเว็บไซต์คณะฯ
3. ประชาสัมพันธ์ผ่านเฟสบุ๊คฝ่ายกิจการนักศึกษา
4. ประชาสัมพันธ์รูปแบบปฏิทินผ่านเว็บไซต์งานบริการการศึกษา
5. การประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารผ่านกลุ่มเครือข่ายต่าง ๆ เช่น สโมสรนักศึกษา
6. ส่งเอกสารให้หัวหน้าชั้นปีเพื่อประกาศในชั้นปี
7. ส่งข้อมูลให้นักศึกษาเป็นรายบุคคลกรณีจำเพาะเจาะจงทาง Email โทรศัพท์ โทรสาร เฟสบุ๊คส่วนตัวของนักศึกษา รวมถึงการฝากเพื่อนในชั้นปีแจ้งข้อมูลให้นักศึกษาได้รับทราบ 

          ผลการการประเมินในภาพรวมของนักศึกษาต่อการให้บริการด้านการจัดบริการข้อมูลข่าวสาร เท่ากับ 3.78

- เวปไซต์ สพมข.
- เว็ปไซต์งานบริการ
- Face book ฝ่ายกิจการนศ
- บอร์ดประชาสัมพันธ์ (3.1.2-1)

  นางทักษ์ศภรณ์ ตาละลักษณ์ 

3. มีการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาประสบการณ์ทางวิชาการและวิชาชีพแก่นักศึกษา

คณะฯ จัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาประสบการณ์ทางวิชาการ และวิชาชีพแก่นักศึกษาหลายรูปแบบ ดังนี้

1. จัดกิจกรรมพัฒนาผ่านกิจกรรม/โครงการต่าง ๆ :

-โครงการค่ายบูรณาการ มีผลการการประเมินในภาพรวมของนักศึกษาร้อยละ 63.64 มีความพึงพอใจในระดับดีมาก
-โครงการ “ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าแก่สุนัขและแมวในพื้นที่มหาวิทยาลัยขอนแก่นและชุมชนใกล้เคียง” ปีการศึกษา 2556 ร้อยละ 62.50 มีความพึงพอใจในระดับมากที่สุด 5.00
-โครงการบริการวิชาการทางสัตวแพทย์เพื่อชุมชน ประจำปีการศึกษา 2556 ร้อยละ 47 พึงพอใจในระดับดีมาก และร้อยละ 41 พึงพอใจในระดับดี

-โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาทักษะวิชาชีพทางสัตวแพทย์ มีความพึงพอใจมากที่สุด (5.00) 10 ด้าน จากทั้งหมด 17 ด้าน
-โครงการกีฬาสัตแพทย์สัมพันธ์ ครั้งที่ 24 ฯ พึงพอใจต่อการส่งเสิมการพัฒนาเครือข่ายวิชาชีพสัตวแพทย์มากที่สุด ร้อยละ 25.00 รองลงมาอยู่ในระดับมาก ร้อยละ 43.33

2. คณะฯ ได้ดำเนินการส่งนักศึกษาออกฝึกงานนอกหลักสูตรเพื่อพัฒนาการประยุกต์ความรู้ลงสู่การปฏิบัติ พัฒนาทักษะทางการปฏิบัติในวิชาชีพ พัฒนาด้านระเบียบวินัย และพัฒนาทักษะทางสังคม  นักศึกษามีความพึงพอใจในระดับดี 4.05

3.1 (3.1) รายงานผลการฝึกงานนอกหลักสูตร 2556
3.1 (3.2) รายงานค่ายบูรณาการ
3.1 (3.2) รายงานค่ายโรคพิษสุนัขบ้า
3.1 (3.2) รายงานค่ายสัตวแพทย์อาสา

3.1 (3.2) รายงานโครงการค่ายร่วม
3.1 (3.3) รายงานการฝึกงานนอกหลักสูตร

 นางทักษ์ศภรณ์ ตาละลักษณ์  

4. มีการจัดบริการข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ต่อศิษย์เก่า

คณะฯ มีการประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ต่อศิษย์เก่าในหลายรูปแบบ ดังนี้

  1. ประชาสัมพันธ์ผ่านเว็ปไซต์คณะฯ
  2. ประชาสัมพันธ์ผ่านเฟสบุ๊คฝ่ายกิจการนักศึกษา
  3. ส่งหนังสือโดยตรงถึงนายกสมาคมศิษย์เก่าคณะสัตวแพทย์
  4. โทรศัพท์/Email  ประสานนายกสมาคมศิษย์คณะสัตวแพทย์เพื่อประชาสัมพันธ์บนเว็บไซต์ของสมาคมศิษย์เก่า

3.1 (4.1) เว็ปไซต์คณะ

3.1 (4.2) เฟซบุคศิษย์เก่า

 นางทักษ์ศภรณ์ ตาละลักษณ์  

5. มีการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาความรู้และประสบการณ์ให้ศิษย์เก่า

คณะฯ จะจัดประชุมวิชาการนานาชาติเป็นประจำทุกปี และจะประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารให้ศิษย์เก่าทราบและสมัครเข้าร่วมการประชุม เพื่อเก็บคะแนนสะสม CE โดยไม่เรียกเก็บค่าลงทะเบียน

 - รายงาน KVAC 2014 (2.7.4-5)

 นางทักษ์ศภรณ์ ตาละลักษณ์  

6. มีผลการประเมินคุณภาพของการให้บริการในข้อ 1 – 3 ทุกข้อไม่ 
ต่ำกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5
คณะฯ ได้จัดให้มีการประเมินคุณภาพการให้บริการใน ข้อ 1 – 3 ซึ่งผลการประเมินอยู่ในระดับดี

 3.1 (6.1) ผลการประเมินความพึงพอใจการบริการ

 นางทักษ์ศภรณ์ ตาละลักษณ์  

  • ผลการประเมินการให้บริการคำปรึกษาฯ
4.23
  • ผลการประเมินการให้บริการข้อมูลข่าวสารฯ
3.78
  • ผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาประสบการณ์
4.05
7. มีการนำผลการประเมินคุณภาพของการให้บริการมาใช้เป็นข้อมูล
ในการพัฒนาการจัดบริการ ที่สนองความต้องการของนักศึกษา

จากการประเมินผลการดำเนินงานในด้านต่าง ๆ คณะฯ ได้นำผลการประเมิน มาพิจารณาในรายละเอียดปลีกย่อยต่าง ๆ และดำเนินการพัฒนาการให้บริการบางกิจกรรมที่คิดว่าจะเป็นประโยชน์ต่อนักศึกษาเพิ่มเติม เช่น

  • จัดทำคู่มือการฝึกงานนอกหลักสูตร
  • การให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ก่อนออกฝึกงาน
  • ให้ข้อมูลข่าวสารที่รวดเร็ว ถึงนักศึกษาโดยตรงผ่านทางเฟซบุคส่วนบุคคล
  • การติดต่อประสานงานโดยตรงกับนายกสมาคมศิษย์เก่า และทางเว็บไซตาของสมาคมศิษย์เก่า

 3.1 (7.1) บอร์ดประชาสัมพันธ์ของงานบริการการศึกษา

3.1 (7.2) การให้คำปรึกษาแก่นักศึกษารายบุคคลทางเฟซบุค

3.1 (7.3) โครงการอาจารย์ที่ปรึกษาพบนักศึกษา

 นางทักษ์ศภรณ์ ตาละลักษณ์  

3.2 ระบบและกลไกการส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา

1. สถาบันจัดทำแผนการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษา
ที่ส่งเสริมผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติทุกด้าน
คณะได้จัดทำแผนการพัฒนานักศึกษาทุกปี โดยยึดกรอบมาตรฐาน TQF พิจารณาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ และนโยบายของคณะฯ และมหาวิทยาลัย รวมถึงการ SWOT แผนฉบับเดิม ดูด้านจุดเด่น ข้อด้วย โอกาส และอุปสรรค ที่เกิดขึ้น พัฒนาเป็นแผนในปีต่อไป

 3.2 (1.1) แผนการดำเนินงานกิจกรรมของฝ่ายกิจการนักศึกษา ปีการศึกษา 2556

  นางทักษ์ศภรณ์ ตาละลักษณ์ 

2. มีกิจกรรมให้ความรู้และทักษะการประกันคุณภาพการศึกษาแก่นักศึกษา

คณะฯ ได้ถ่ายทอดความรู้ด้านการประกันคุณภาพการศึกษาลงสู่นักศึกษาหลายด้าน ดังนี้
1. อาจารย์ผู้สอนได้ขอให้นักศึกษาประเมินผลการสอน เพื่อการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น
2. ผู้บริหารถ่ายทอดความรู้ด้านการประกันคุณภาพผ่านกิจกรรมผู้บริหารพบนักศึกษา
3. ฝ่ายกิจการนักศึกษาถ่ายทอดความรู้ให้นักศึกษาลงสู่การปฏิบัติจริงผ่านกระบวนการกิจกรรม/โครงการ ที่ให้นักศึกษาได้คิดวิเคราะห์ตามโครงสร้างแบบฟอร์มขออนุมัติและรายงานผลการดำเนินงาน

3.2 (2.1) รายงานสรุปโครงการและกิจกรรมของนักศึกษา ปีการศึกษา 2556
3.2 (2.2) โครงการลอยกระทง

  นางทักษ์ศภรณ์ ตาละลักษณ์ 

3. มีการส่งเสริมให้นักศึกษานำความรู้ด้านการประกันคุณภาพไปใช้ในการ
จัดกิจกรรม ที่ดำเนินการโดยนักศึกษาอย่างน้อย 5 ประเภทสำหรับระดับปริญญาตรี
และอย่างน้อย 2 ประเภทสำหรับระดับบัณฑิตศึกษา จากกิจกรรมต่อไปนี้
  • กิจกรรมวิชาการที่ส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์
  • กิจกรรมกีฬาหรือการส่งเสริมสุขภาพ
  • กิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์หรือรักษาสิ่งแวดล้อม
  • กิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรมและจริยธรรม
  • กิจกรรมส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรม

มีกิจกรรมที่ได้จัดขึ้นในรอบปีการศึกษา 2556 ครบตามเกณฑ์

ระดับปริญญาตรี

  1. กิจกรรมวิชาการที่ส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ เช่น โครงการเส้นทางสู่สัตวแพทย์ ครั้งที่ 10 ประจำปี 2556 โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาทักษะวิชาขีพทางสัตวแพทย์ โครงการฝึกสุนัข ปีการศึกษา 2556
  2. กิจกรรมกีฬาสัตวแพทย์สัมพันธ์ ครั้งที่ 24
  3. กิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์หรือรักษาสิ่งแวดล้อม เช่น โครงการอบรมเพื่อพัฒนาจิต เรียนรู้พระศาสนา ร่วมรักษาป่าอีสาน
  4. กิจกรรมเสริมเสร้างคุณธรรมและจริยธรรม สิ่งแวดล้อม เช่น โครงการอบรมเพื่อพัฒนาจิต เรียนรู้พระศาสนาร่วมรักษาป่าอีสาน งานวันไหว้ครู 2556
  5. กิจกรรมส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรม เช่น งานวันไหว้ครู 2556 ลอยกระทง

ระดับบัณฑิตศึกษา

  1. โครงการอาจารย์พบนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
  2. โครงการแสดงความยินดีกับผู้สำเร็จการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา

ระดับ ป.ตรี
3.2 (3.1) สรุปเล่มรายงานกิจกรรมโครงการต่างๆที่สโมสรนักศึกษาฯ

และชุมนุมได้จัดขึ้น








ระดับบัณฑิตศึกษา
- โครงการอาจารย์ พบนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา (3.2.3-7)
- โครงการแสดงความยินดีกับผู้สำเร็จการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา (3.2.3-8)
- คำสั่งแต่งตั้ง กกนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา (3.2.3-9)

  นางทักษ์ศภรณ์ ตาละลักษณ์ 

4. มีการสนับสนุนให้นักศึกษาสร้างเครือข่ายพัฒนาคุณภาพภายในสถาบันและ
ระหว่างสถาบัน และมีกิจกรรมร่วมกัน

คณะฯ ได้ส่งเสริมให้นักศึกษาคณะสัตวแพทยศาสตร์ ทำกิจกรรมร่วมกับนิสิตนักศึกษา คณะสัตวแพทยศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยอื่น อีก 5 สถาบัน เช่น

  • กีฬาสัตวแพทย์ 6 สถาบัน ครั้งที่ 24 
  • ค่ายสัตวแพทย์อาสาในภาวะภัยพิบัติ
  • โครงการค่ายสัตวแพทย์รุ่นใหม่หัวใจสีเขียว

 3.2 (4.1) การแข่งขันกีฬา 6 สถาบัน ครั้งที่ 24

3.2 (4.2) ค่ายสัตวแพทย์อาสาในภาวะภัยพิบัติ

  นางทักษ์ศภรณ์ ตาละลักษณ์ 

5. มีการประเมินความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของแผนการ
จัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษา
คณะฯ ได้ดำเนินการตามแผนงานที่กำหนดไว้โดยในการจัดทำแผนในปีถัดไป จะมีคณะกรรมการกิจการนักศึกษา และคณะกรรมการบริการจัดการการเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการจะได้ประเมินผลการดำเนินงานในทุกปี และให้แนวคิด ข้อเสนอแนะ ในการพัฒนานักศึกษาให้สอดคล้องกับความต้องการเพิ่มขึ้น ซึ่งในการดำเนินงานตามแผน

3.2 (5.1) รายงานสรุปผลสำเร็จการดำเนินงานตามแผน 2556

  นางทักษ์ศภรณ์ ตาละลักษณ์ 

6. มีการนำผลการประเมินไปปรับปรุงแผนหรือปรับปรุงการ
จัดกิจกรรมเพื่อพัฒนานักศึกษา
แผนงบประมาณ ปี 2557

3.2 (6.1) แผนการดำเนินงาน ปี 2557

  นางทักษ์ศภรณ์ ตาละลักษณ์ 

3.3 จำนวนเงินบริจาคจากศิษย์เก่า

เงินบริจาคศิษย์เก่า ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2556 – 31 พฤษภาคม 2557

3.3- เงินบริจาคศิษย์เก่า
ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2556 – 31 พฤษภาคม 2557

 นางทักษ์ศภรณ์ ตาละลักษณ์ 

 

รายละเอียด

จำนวน

จำนวนเงินบริจาคจากศิษย์เก่า

261,111

จำนวนนักศึกษาทั้งหมดทุกระดับการศึกษา

604

ผลการดำเนินงาน

431.59

ผลคะแนนที่ได้

4

เอกสารอ้างอิง : เงินบริจาคจากศิษย์เก่า

ลำดับที่

ว/ด/ป

ชื่อ-นามสกุล

รุ่นที่

จำนวนเงิน

หมายเหตุ

1

30/7/2556

น.สพ.ปฏิภาณ ไชยปัญญา

9

7,500

สนับสนุนโครงการจัดหาทุน สโมสรนักศึกษาฯ

2

20/8/2556

น.สพ.นที  ศรีทอง

1

5,000

สนับสนุนโครงการจัดหาทุน สโมสรนักศึกษาฯ

3

20/8/2556

น.สพ.อุดม วิบูลย์อุทัย

1

10,000

สนับสนุนโครงการจัดหาทุน สโมสรนักศึกษาฯ

4

8/10/2556

สพ.ญ.ณัฐหทัย วนาเฉลิม

16

1,000

สนับสนุนกิจกรรมคณะฯ

5

00/12/2556

ศิษย์เก่ารุ่น 1

1

111,111

สนับสนุนโรงพยาบาลสัตว์

6

00/12/2556

ศิษย์เก่ารุ่น 7

7

23,000

สนับสนุนโรงพยาบาลสัตว์

7

00/12/2556

ศิษย์เก่ารุ่น 10

10

30,000

สนับสนุนโรงพยาบาลสัตว์

8

00/12/2556

คมกริช ตาตินิช

2

10,000

สนับสนุนโครงการจัดหาทุน สโมสรนักศึกษาฯ

9

20/2/2557

นายกสมาคมศิษย์เก่าคณะฯ

5

4,500

สนับสนุนโครงการราตรีบัณฑิต

10

25/4/2557

สพ.ญ.กรรณิกา เทียบทิม

15

10,000

สนับสนุนโครงการทุนการศึกษา (งานศิษย์เก่าสัมพันธ์)

11

25/4/2557

สมาคมศิษย์เก่าคณะฯ

-

47,000

งานโครงการคืนสู่เหย้าชาวสัตวแพทย์ วันที่ 25/4/2557

12

10/4/2557

สพญ.กรรณิกา ปัตถาวะโร

9

2,000

สนับสนุนโรงพยาบาลสัตว์

 

 

องค์ประกอบที่ 6 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม
6.1 ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม
     
1. มีระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมและ
ดำเนินการตามระบบที่กำหนด
คณะฯ มีการจัดทำแผนด้านการทำบุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม และได้ดำเนินการตามแผนงานที่วางไว้    
2. การบูรณาการงานด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมกับ
การจัดการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษา

คณะมีโครงการ/กิจกรรมบูรณางานด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมกับการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษา ดังนี้

- คณะฯ มีการกำหนดให้นักศึกษาเรียนวิชา

  • 000 153 ภูมิปัญญาท้องถิ่น
  • 000 156 พหุวัฒนธรรม ในหลักสูตร


- มีการจัดการเรียนการสอนวิชา 716 452 (การศึกษาและปฏิบัติภาคสนามด้านสัตวแพทยศาสตร์ชุมชน) ซึ่งเป็นวิชาต้องออกภาคสนามร่วมกับคณะทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ เช่น แพทย์ พยาบาล ทันตแพทย์ เป็นต้น นักศึกษาต้องเรียนรู้วิถีชีวิตชุมชน โดยเฉพาะการเลี้ยงสัตว์และปัญหาสุขภาพสัตว์ในพื้นที่

- มีการจัดให้มีโครงการทำบุญสัตว์ทดลอง ทุกปีการศึกษา ในรายวิชาที่เกี่ยวข้องกับการใช้สัตว์ทดลอง เพื่อการเรียนการสอน ดังนี้

  • 711212 มหกายวิภาคศาสตร์สัตว์เล็ก
  • 711213 มหกายวิภาคศาสตร์สัตว์ใหญ่
  • 712331 สรีรวิทยาพฤติกรรมสัตว์
  • 715412 ศัลยศาสตร์สัตว์เล็ก
  • 715514 ศัลยศาสตร์สัตว์ใหญ่

ซึ่งเป็นการปลูกฝั่งจิตสำนึก ขนบธรรมเนียมประเพณี ในการเคารพ รู้คุณ และตอบแทนคุณ รวมทั้งศรัทธาทางศาสนา

- มีการสนับสนุนให้นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมตามประเพณี

- มคอ3 วิชา 716452 (6.1.2-2)
- คู่มือฝึกภาคสนามร่วม มข ปีการศึกษา 2556 (6.1.2-3)

- งานทำบุญสัตว์ทดลอง (6.1.2-4)

- ประชาสัมพันธ์ให้นศบัณฑิตเข้าร่วมงานสงกรานต์ (6.1.2-6)

 
3. มีการเผยแพร่กิจกรรมหรือการบริการด้านทำนุบำรุงศิลปะและ
วัฒนธรรมต่อสาธารณชน

- คณะฯ ให้การสนับสนุนให้สโมสรนักศึกษาจัดโครงการลอยกระทง และเข้าร่วมในกระบวนแห่ที่มหาวิทยาลัยจัดขึ้นในทุกปี

เล่มรายงานผลการจัดโครงการลอยกระทง  
4. มีการประเมินผลความสำเร็จของการบูรณาการงานด้านทำนุบำรุงศิลปะและ
วัฒนธรรม กับการจัดการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษา
ในการจัดโครงการทำบุญสัตว์ทดลอง และโครงการค่ายบูรณาการ คณะฯ ได้ให้นักศึกษาเข้าร่วม และได้ให้นักศึกษาได้ประเมินผลการจัดโครงการ

เล่มรายงานโครงการทำบุญสัตว์ทดลอง

เล่มรายงานโครงการค่ายบูรณาการฯ
 
5. มีการนำผลการประเมินไปปรับปรุงการบูรณาการงานด้านทำนุบำรุงศิลปะและ
วัฒนธรรม กับการจัดการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษา
ภาควิชาที่รับผิดชอบด้านการใช้สัตว์ทดลองได้มีการประชุมร่วมกันและได้ดำเนินการที่เป็นการสืบสานวัฒนธรรมการทำบุญสัตว์ทดลองมาอย่างต่อเนื่อง และผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันเป็นเจ้าภาพในทุกปี โดยมีนักศึกษาร่วมดำเนินการ

เล่มรายงานโครงการทำบุญสัตว์ทดลอง

เล่มรายงานโครงการค่ายบูรณาการฯ
 
6. มีการกำหนดหรือสร้างมาตรฐานคุณภาพด้านศิลปะและวัฒนธรรมและ
มีผลงานเป็นที่ยอมรับในระดับชาติ
- -  
6.2 การส่งเสริมและสนับสนุนด้านศิลปะและวัฒนธรรม      
1. มีการดำเนินงานตามวงจรคุณภาพ (PDCA)      
2. บรรลุเป้าหมายตามแผนของแต่ละโครงการ/กิจกรรม
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ทุกโครงการ/กิจกรรม
     
3. มีการดำเนินงานสม่ำเสมออย่างต่อเนื่อง      
4. เกิดประโยชน์และสร้างคุณค่าต่อชุมชนภายใน/ภายนอก      
5. ได้รับการยกย่องระดับชาติและ/หรือระดับนานาชาติ      
6.3 การพัฒนาสุนทรียภาพในมิติทางศิลปะและวัฒนธรรม      
1. การมีส่วนร่วมของบุคลากรในสถาบันที่ก่อให้เกิดวัฒนธรรมที่ดี      
2. สิ่งแวดล้อมด้านความปลอดภัยของอาคารสถานที่ สะอาดถูกสุขลักษณะ
และตกแต่งอย่างมีความสุนทรีย์
     
3. ปรับแต่งและรักษาภูมิทัศน์ให้สวยงาม สอดคล้องกับธรรมชาติ
และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
     
4. การจัดให้มีพื้นที่และกิจกรรมทางวัฒนธรรมที่เอื้อและ
ส่งเสริมให้นักศึกษาและบุคลากรมีส่วนร่วมอย่างสม่ำเสมอ
     
5. ระดับความพึงพอใจของบุคลากรและนักศึกษาเกี่ยวกับประเด็น1 – 4
ไม่ต่ำกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5
     
7.2 การพัฒนาคณะ/หน่วยงานสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้      
1. มีการกำหนดประเด็นความรู้และเป้าหมายของการจัดการความรู้ที่สอดคล้อง
กับแผนกลยุทธ์ของสถาบัน 
อย่างน้อยครอบคลุมพันธกิจด้านการผลิตบัณฑิตและด้านการวิจัย

คณะมีการกำหนดประเด็นความรู้และเป้าหมายของการจัดการความรู้ที่สอดคล้องกับแผนกลยุทธของสถาบัน ดังนี้

- ด้านการผลิตบัณฑิต มีแผนในการปรับปรุง/พัฒนา การจัดการเรียนการสอน และการประเมินผล เพื่อเตรียมนักศึกษาสอบใบประกอบวิชาชีพฯ

- ด้านการวิจัย ......

   
2. กำหนดบุคลากรกลุ่มเป้าหมายที่จะพัฒนาความรู้และ
ทักษะด้านการผลิตบัณฑิต
และด้านการวิจัยอย่างชัดเจนตามประเด็นความรู้ที่กำหนดในข้อ 1

- ด้านการผลิตบัณฑิต กลุ่มเป้าหมาย คือ คณาจารย์คณะและนายสัตวแพทย์ประจำโรงพยาบาลสัตว์

- ด้านการวิจัย...

 

 

 

 
3. มีการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากความรู้ ทักษะของผู้มีประสบการณ์ตรง
(tacit knowledge)  เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดี
ตามประเด็นความรู้ที่กำหนดในข้อ 1
และเผยแพร่ไปสู่บุคลากรกลุ่มเป้าหมายที่กำหนด

- ด้านการผลิตบัณฑิต มีการจัดอบรม/workshop โดยวิทยากรซึ่งเป็นผู้ทรงคุณวุฒิของสัตวแพทยสภาและเชี่ยวชาญด้าน
การจัดการเรียนการสอนและการประเมินผล ทั้งภายในและภายนอก ซึ่งบางโครงการเริ่มดำเนินการมาตั้งแต่ปี การศึกษา 2555 แล้ว และจัดทำต่อเนื่องมาตลอดปีการศึกษา 2556

- ด้านการวิจัย....

- โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “ออกข้อสอบอย่างไรให้ได้มาตรฐาน” ครั้งที่ 9 เรื่อง “การออกข้อสอบตามมาตรฐานสัตวแพทยสภา และการเตรียมความพร้อมในการสอบประเมินความรู้ฯ”(7.2.3-2) และรายงานผลโครงการ (7.2.3-2_1)
- โครงการ “อบรมการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง เรื่อง Problem Oriented Approach : POA)” (7.2.3-3) และรายงานผลโครงการ (7.2.3-3_1)

- โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “การออกข้อสอบที่ได้มาตรฐานผ่านระบบออนไลน์” (7.2.3-5) และคำสั่งแต่งตั้งผู้ร่วมออกข้อสอบของศูนย์ประเมินฯ (7.2.3-5_1)

 
4. มีการรวบรวมความรู้ตามประเด็นความรู้ที่กำหนดในข้อ 1
ทั้งที่มีอยู่ในตัวบุคคลและแหล่งเรียนรู้อื่นๆ ที่เป็นแนวปฏิบัติที่ดีมาพัฒนาและ
จัดเก็บอย่างเป็นระบบโดยเผยแพร่ออกมาเป็นลายลักษณ์อักษร
(explicit knowledge)
มีการเผยแพร่องค์ความรู้ที่ได้จากการจัดความรู้ให้คณาจารย์ นักศึกษา
โดยนำขึ้น เว็ปไซต์ ของคณะ และเผยแพร่โดยตรงแก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรม

- เอกสารองค์ความรู้ประกอบการจัดการองค์ความรู้ที่เผยแพร่ ด้านการผลิตบัณฑิต (7.2.4-1)


- เว็ปไซต์คณะ

 
5. มีการนำความรู้ที่ได้จากการจัดการความรู้ในปีการศึกษาปัจจุบันหรือ
ปีการศึกษาที่ผ่านมาที่เป็นลายลักษณ์อักษร (explicit knowledge) และ
จากความรู้ ทักษะของผู้มีประสบการณ์ตรง (tacit knowledge) ที่เป็นแนวปฏิบัติที่ดีมาปรับใช้ในการปฏิบัติงานจริง

ีนำองค์ความรู้ที่ได้จากการจัดความรู้ ทั้ง explicit knowledge
และ tacit knowledge
มาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน ได้แก่
- การจัดทำ มคอ. 3 (หลักสูตรปรับปรุง 2558)
- การติวและออกข้อสอบ MCQ เพื่อติวนักศึกษา

- โครงการติวนักศึกษา (7.2.5-1) (7.2.5-2) (7.2.5-3)
- ข้อสอบ MCQ ที่ใช้ในการติว ....(ดูเอกสารข้อสอบจริง)
 
9.2 ผลการพัฒนาบัณฑิตตามอัตลักษณ์      
1. มีการกำหนดกลยุทธ์และแผนการปฏิบัติงานที่สอดคล้องกับ
อัตลักษณ์ของสถาบัน 
โดยได้รับการเห็นชอบจากกรรมการประจำคณะหรือกรรมการบริหารสูงสุด
     
2. มีการสร้างระบบการมีส่วนร่วมของผู้เรียนและ
บุคลากรในการปฏิบัติตามกลยุทธ์ที่กำหนดอย่างครบถ้วนสมบูรณ์
มีโครงการสหกิจศึกษา ซึ่งเป็นโครงการหลักในการจัดการเรียนการสอนให้เป็นบัณฑิตที่พร้อมทำงาน - สรุปโครงการสหกิจศึกษา ปีการศึกษา 2556 (2.6.3-10)  
3. ผลการประเมินของผู้เรียนและบุคลากรเกี่ยวกับการปฏิบัติงาน
ของสถานศึกษาที่สอดคล้องกับอัตลักษณ์      ไม่ต่ำกว่า  3.51 
จากคะแนนเต็ม 5
     
4. ผลการดำเนินงานก่อให้เกิดผลกระทบที่เป็นประโยชน์และ/หรือ
สร้างคุณค่าต่อสังคม
     

5. ผู้เรียน/บุคลากร/คณะ/สถาบัน  ได้รับการยกย่องหรือยอมรับในระดับชาติและ/หรือ
นานาชาติในประเด็นที่เกี่ยวกับอัตลักษณ์

 

 

 

University Strategies

ชื่อโครงการ

ตัวชี้วัด

เป้าหมาย

ดำเนินการ

หลักฐาน (ผลสรุป)

- โครงการสหกิจศึกษา

ร้อยละของนักศึกษาชั้นปีที่ 6 เข้าร่วมโครงการ

90%

100%

รายชื่อนศร่วมสหกิจศึกษา (us1)

- ประชุมวิชาการนานาชาติ

จำนวนการจัดประชุมวิชาการระดับนานาชาติ

1 ครั้ง

9-10 June 2011

Kvac2012 (2.7.6-1)

3 ประเทศ

Thai, Laos, Vietnam, Myanmar, USA

- โครงการสอนภาษาอังกฤษให้นักศึกษา

ร้อยละของการดำเนินงานตามแผน

100%

100%

โครงการอบรมภาษาอังกฤษ (us2)

 

DVM Need

ชื่อโครงการ

ตัวชี้วัด

เป้าหมาย

ดำเนินการ

หลักฐาน (ผลสรุป)

- ส่งเสริมกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญเช่น PBL, RBL เป็นต้น

จำนวนรายวิชาที่สอนแบบ PBL หรือ RBL

5 วิชา

- Principles of Veterinary Pharmacology
- Veterinary antimicrobial and chemotherapeutic agents
- Veterinary Microanatomy and Physiology I
- Clinical Practice in General Veterinary Medicine
- Ruminant Medicine
- Clinical Practice in Small Animal Surgery

- (2.6.1-3.1)
- (2.6.1-3.2)
- (2.6.1-3.3)
- (2.6.1-3.4)
- (2.6.1-3.5)

จำนวนกิจกรรมที่อาจารย์เข้าร่วม

2 โครงการ

- RBL
- POA

(2.7.3-13) (2.7.3-12)

คำรับรองปฏิบัติราชการ 2556

QA 2554
QA 2555

 

ที่อยู่: คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เลขที่ 123 หมู่ที่ 16 ถนนมิตรภาพ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น 40002;
งานบริการการศึกษา: Tel: 043 342 693  Fax: 043 342 693 เบอร์ภายใน: 47014