VET MED
VEDIO
KKU BEHAVIOR
STORY OF CHAMELEONS
HOME
BEHAVIOR
PICTURE
TEAM
น่ารัก
สู้กัน
กินกิน

 

DEPARTMENT OF PHYSIOLOGY ; FACULTY OF VETERINARY MEDICINE; KHONKHEAN UNIVERSITY group 5 ป CHAMELEONS

CHAMELEONS
INFORMATION

-  EVOLUTION    -  ECOSYTEM    -  TAXONOMY     -  ANATOMY        -  PHYSIOLOGY

ANATOMY
INFORMATION
-นิ้วเท้า
-หัว
-ร่างกาย
-หาง
-ตา
-ดวงตาข้างกะโหลกศรีษะ
-ลิ้น
-ผิวหนัง
-หูชั้นใน
หูชั้นใน

     หูของกิ้งก่า Chamaeleonids เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพที่ดูเป็นธรรมดามา เป็นระยะเวลานาน, และก็ไม่สามารถมองเห็นได้โดยภายนอก, เนื่องเพราะถูกปกคลุม ด้วยผิวหนังและเกล็ด โดยที่ไม่เหมือนกับตะกวดจำพวกอื่น, กิ้งก่า Chamaeleonids ไม่มีทั้งรูหูภายนอกหรือเยื่อแก้วหู, แต่พวกมันมีความคล้ายคลึงทางโครงสร้าง กะโหลกและของเหลวชนิดเดียวกันกับงู โครงสร้างดังกล่าวนี้ที่อยู่บนด้านข้างของ กะโหลกศีรษะและตอนท้ายของเบ้าตาของพวกมันอาจมีประสิทธิภาพในการรับรู้คลื่น เสียงทุ้มได้

     กิ้งก่า Chameleons เป็นที่รู้จักกันว่าสามารถรับรู้การสั่นสะเทือนของเสียงในขอบข่าย แคบ ๆ ได้, จาก 200 Hz ถึง 600 Hz, โดยขึ้นอยู่กับแต่ละสายพันธุ์ และสายพันธุ์ที่อาศัย อยู่ในพื้นที่ต่ำมักมีขอบข่ายความไวทางสัมผัสที่กว้างกว่า

     กิ้งก่า Chamaeleonids ยังเป็นที่รับรู้ถึงการส่งเสียงร้องออกมาจากร่างกายของพวก มัน คล้าย ๆ กันกับการที่จระเข้ปล่อยการสั่นสะเทือนที่หูมนุษย์ไม่สามารถได้ยินได้ การสั่นสะเทือนที่ต่ำมาก ๆ ดังกล่าวนี้ค่อนข้างที่จะพบได้ทั่วไปในอาณาจักรของสัตว์, ตั้งแต่ปลาไปจนถึงยีราฟและช้าง, และสามารถเดินทางผ่านระยะทางไกล ๆ และผ่านสิ่งกีดขวางมากมายได้, เช่น ผ่านป่าทึบและทุ่งหญ้าสะวันนา เสียงร้องดังกล่าวนี้สามารถรับรู้ได้ถึงการสื่อสารและอาจเป็นวิธีการในการติดต่อกันกับ กิ้งก่า Chameleons ตัวอื่น ๆ ก็เป็นได้