VET MED
VEDIO
KKU BEHAVIOR
STORY OF CHAMELEONS
HOME
BEHAVIOR
PICTURE
TEAM
น่ารัก
สู้กัน
กินกิน

 

DEPARTMENT OF PHYSIOLOGY ; FACULTY OF VETERINARY MEDICINE; KHONKHEAN UNIVERSITY group 5 ป CHAMELEONS

CHAMELEONS
INFORMATION

-  EVOLUTION    -  ECOSYTEM    -  TAXONOMY     -  ANATOMY        -  PHYSIOLOGY

ANATOMY
INFORMATION
-นิ้วเท้า
-หัว
-ร่างกาย
-หาง
-ตา
-ดวงตาข้างกะโหลกศรีษะ
-ลิ้น
-ผิวหนัง
-หูชั้นใน
Parietal Eye

      กิ้งก่า Chamaeleonids, เหมือนกับสัตว์เลื้อยคลานประเภทอื่น ๆ, มีอวัยวะที่น่าทึ่ง ที่สุดอย่างหนึ่งซึ่งก็คือดวงตาข้างกะโหลกศีรษะ

      ดวงตาข้างกะโหลกศีรษะเป็นที่รู้จักดีที่สุดในตระกูล New Zealand sphenodontids , เช่น tuatara, และมักจะถูกเรียกว่า “ตาที่สาม” โดยที่จริงแล้วมันคือตาที่เสื่อมหรือไม่สมบูรณ์ที่หลงเหลืออยู่ที่พบได้ในตะกวด จำนวนมากระหว่างตาสองข้างและบางครั้งก็จะถูกคลุมด้วยเกล็ด, บางครั้งในจำพวก iguanids) ก็ไม่

      อวัยวะชนิดนี้ไวต่อแสง, แต่มันแสดงปฏิกิริยาเฉพาะต่อบางความยาวคลื่นเท่านั้น พวกที่ในบางระดับก่อให้เกิดการรับรู้สีน้ำเงินและสีม่วง, และรังสี UVA. อวัยวะชนิดนี้ถูกเชื่อมโดยเส้นประสาทหนึ่งเข้ากับต่อม pineal, ส่วนของสมองที่ชื่อ hypothalamus ที่ก่อให้เกิดการกำหนดหน้าที่ทางฮอร์โมนของกิ้งก่า Chamaeleonids. โดยขึ้นอยู่กับช่วงเวลาของปี (หรือตำแหน่งของโลกที่หันไปทางดวงอาทิตย์, กับสายพันธุ์ที่ไวต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ), รังสี UVA จำนวนมากขึ้นจะเข้ามาสู่บรรยากาศของโลกและดังนั้นดวงตาข้างกะโหลกศีรษะนี้จึง ได้รับการกระตุ้นไม่มากก็น้อย, โดยมีผลกระทบไม่มากก็น้อยกับระบบก้าน (limbic) สมอง