VET MED
VEDIO
KKU BEHAVIOR
STORY OF CHAMELEONS
HOME
BEHAVIOR
PICTURE
TEAM

 

DEPARTMENT OF PHYSIOLOGY ; FACULTY OF VETERINARY MEDICINE; KHONKHEAN UNIVERSITY group 5 ป CHAMELEONS

CHAMELEONS BEHAVIOR
INFORMATION

     การแพร่พันธุ์นั้นจะเกิดขึ้นเมื่อความเครียดลดลงหลังจากเกิดพายุและน้ำจากแม่น้ำหรือมหาสมุทรไหล ทะลักแล้ว

     1. การแสดงออกของการเป็นสัด ซึ่งสังเกตจากตัวผู้จะมีพฤติกรรมผงกหัวเพื่อเรียกร้องความสนใจจาก ตัวเมีย ส่วนตัวเมียจะมีอาการอยู่นิ่ง พร้อมที่จะให้ตัวผู้เข้าผสมพันธุ์
    2. ตัวผู้จะเข้าผสมพันธุ์กับตัวเมีย (mating periods)
    3. ตัวเมียหลังถูกตัวผู้ผสมพันธุ์ แล้วก็จะเปลี่ยนเป็นสีเข้มขึ้นของลำตัวและตั้งท้องจนออกไข่ หรือกิ้งก่า คาร์เมเลี่ยนบางชนิดจะออกลูกเป็นตัวตามสายพันธุ์ของกิ้งก่าคาร์เมเลี่ยน

    การวางไข่ของคาร์เมเลี่ยน แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ

     1. กิ้งก่าคาร์มิเลี่ยนที่ออกลูกเป็นไข่ ( egg layers ) ซึ่งหลังจากวางไข่แล้วจะใช้ระยะเวลาหนึ่ง ไข่จึงจะ ฟักเป็นตัว เช่น เวลล์ แพนเทอร์ คาร์เพท
     2. กิ้งก่าคาร์มิเลี่ยนที่ออกลูกเป็นตัว ( life born ) เช่น แจ็คสัน

         คาเมเลียนอาศัยในป่าไม้ที่ไม่ค่อยหนาแน่น อาจจะพบได้ทั้งป่าผลัดใบหรืออาจพบในป่่าดิบ ที่มีบริเวณชื้นพอที่จะให้ความอบอุ่นกับไข่และเพื่ออำนวยในการฟักตัวของลูก การวางไข่ตัวเมียจะไม่ขุดดิน แต่จะวางไข่บนพื้นหรือยึดเกาะไข่ไว้กับสิ่งแวดล้อมคล้ายตุ๊กแก ด้วยเหตุผลนี้คาเมเลียนจึงวางไข่ในฤดูฝน ถ้าช่วง 5-7 เดือนที่ไม่ใช่ฤดูฝน ความชื้นในอากาศไม่ถึง 75 เปอร์เซ็นต์ มันจะกบดาน จนกว่าฝนจะมา แมลงอุดมสมบูรณ์ น้ำ และอากาศเบาบาง ไข่ของ คาเมเลียนจะฟักตัว และในช่วงเดือนนี้จะเป็นประโยชน์ต่อ การเจริญเติบโตของลูก คาเมเลียนจนกว่าจะถึงช่วงหน้าแล้ง คาเมเลียนก็จะกลับไปกบดานอีกครั้ง

CHAMELEONS  LOVER
-THAI CHAMELEON CLUB
CHAMELEONS BEHAVIOR
-HOMEOSTASIS

-การเคลื่อนไหว

-อาหารกับการล่า

-การสื่อสาร

-การพรางตัว

-การทำความสะอาดดวงตา

-การลอกคราบ

-การผสมพันธุ์และการวางไข่
พฤติกรรมการผสมพันธุ์และการวางไข่